เมนูปิด


6. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกำหนดเวลา และต่อมาทีการยื่นแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม เมื่อพ้นกำหนดเวลา หรือเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบความผิด
 6.1แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระและการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท) 
1,500
1,200
(300)
 ขายเกิน
ภาษีซื้อ 
1,000
600
(400)
 ซื้อเกิน
ภาษีที่ต้องชำระ 
500
600
100
 คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา 
   (70)
   (70)
   0
  
ภาษีต้องชำระสุทธิ 
   430
   530
   100
  
เงินเพิ่มมาตรา 89/1100 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับมาตรา 89(3)100 X 1 เท่า
 มาตรา 89(4) ภาษีขายเกินไม่มี
 มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน400 X 1 เท่า
 
ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 400 บาท

 6.2แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน และการคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีชำระไว้เกิน
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท) 
1,500
1,500
0
 ขายถูกต้อง
ภาษีซื้อ 
1,000
600
(400)
 ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ 
500
900
400
 คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา 
(950)
(950)
   0
  
ภาษีต้องชำระไว้เกินสุทธิ 
(450)
(50)
(400)
  
เงินเพิ่มมาตรา 89/1ไม่มี
เบี้ยปรับมาตรา 89(3) 400 X 1 เท่า
 มาตรา 89(4) ภาษีขายถูกต้องไม่มี
 มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน400 X 1 เท่า
 
ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือมาตรา 89(4) จำนวน 400 บาท

 6.3 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชำระไว้เกิน แต่การคำนวณที่ถูกต้องมีภาษีต้องชำระ
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท) 
1,500
3,500
2,000
 ขายขาด
ภาษีซื้อ 
1,000
800
(200)
 ซื้อเกิน
ภาษีต้องชำระ 
500
2,700
2,200
 คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา 
 (950)
 (950)
   0
  
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ 
(450)
1,750
2,200
  
เงินเพิ่มมาตรา 89/11,750 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับมาตรา 89(3)2,200 X 1 เท่า
 มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด2,000 X 1 เท่า
 มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน200 X 1 เท่า
 
ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือมาตรา 89(3) หรือมาตรา 89(4) จำนวน 2,200 บาท

 6.4 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีต้องชำระแต่การคำนวณที่ถูกต้องชำระไว้เกิน         
 
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ภาษีขาย (บาท) 
1,500
2,400
900
 ขายขาด
ภาษีซื้อ 
1,000
2,600
(1,600)
 ซื้อขาด
ภาษีต้องชำระ 
   500
(200)
(700)
 คลาดเคลื่อน
ภาษีชำระไว้เกินยกมา 
   (70)
   (70)
   0
  
ภาษีต้องชำระสุทธิ 
   430
(270)
(700)
  
เงินเพิ่มมาตรา 89/1ไม่มี
เบี้ยปรับมาตรา 89(3)ไม่มี
 มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด900 X 1 เท่า
 มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกินไม่มี
 
ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จำนวน 900 บาท


7. กรณียื่นแบบ ภ.พ. 30 โดยนำภาษีไว้เกินของเดือนที่ผ่านมา มาใช้ชำระภาษีมูลค่าเพิ่มเกินกว่าจำนวนภาษีชำระไว้เกินที่มีอยู่จริง
 7.1กรณีแบบ ภ.พ. 30 ถูกต้อง
 
แบบ ภ.พ. 30
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ม.ค. 42   
ก.พ. 42   
ก.พ. 42
ก.พ. 42
ภาษีขาย (บาท) 
1,500
3,500
3,500
0
ภาษีซื้อ 
1,000
1,200
1,200
      0
ภาษีที่ต้องชำระ 
500
2,300
2,300
0
ภาษีชำระไว้เกินยกมา 
 (750)
 *(350)
 *(250)
(100) 
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ 
 *(250)
 1,950
 2,050
 100 
เงินเพิ่มมาตรา 89/1100 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับมาตรา 89(3)ไม่มี
 มาตรา 89(4) ไม่มี

 7.2กรณีแบบ ภ.พ. 30 แสดงภาษีขายขาด และภาษีซื้อเกินเป็นผลให้มีภาษีซื้อเกินเป็นผลให้ทีภาษีต้องชำระเพิ่มเติม
 
แบบ ภ.พ. 30
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ม.ค. 42   
ก.พ. 42   
ก.พ. 42
ก.พ. 42
ภาษีขาย (บาท) 
1,500
3,500
3,800
300
ภาษีซื้อ 
1,000
1,200
1,000
  (200)
ภาษีที่ต้องชำระ 
500
2,300
2,800
500
ภาษีชำระไว้เกินยกมา 
 (750)
 *(350)
 *(250)
(100) 
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ 
 *(250)
 1,950
 2,550
 600 
เงินเพิ่มมาตรา 89/1600 X 1.5% ต่อเดือน
เบี้ยปรับมาตรา 89(3) 500 X 1 เท่า
 มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด300 X 1 เท่า
 มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน200 X 1 เท่า
 
ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือ มาตรา 89(4) คือ จำนวน 500 บาท

 7.3กรณีแบบ ภ.พ. 30 แสดงภาษีขายขาด และภาษีซื้อเกิน แต่ยังคงมีภาษีชำระเกิน
 
แบบ ภ.พ. 30
แบบ ภ.พ. 30
ความถูกต้อง
ผลต่าง
 
ม.ค. 42   
ก.พ. 42   
ก.พ. 42
ก.พ. 42
ภาษีขาย (บาท) 
1,500
3,500
3,550
50
ภาษีซื้อ 
1,000
3,420
3,400
  (20)
ภาษีที่ต้องชำระ 
500
80
150
70
ภาษีชำระไว้เกินยกมา 
 (750)
 *(350)
 *(250)
(100) 
ภาษีชำระไว้เกินสุทธิ 
 *(250)
 (270)
 (100)
  170 
เงินเพิ่มมาตรา 89/1ไม่มี
เบี้ยปรับมาตรา 89(3) 70 X 1 เท่า
 มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด50 X 1 เท่า
 มาตรา 89(4) ภาษีซื้อเกิน20 X 1 เท่า
 
ให้เปรียบเทียบเบี้ยปรับและเรียกเก็บจำนวนที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(3) หรือ มาตรา 89(4) คือ จำนวน 70 บาท

 

ปรับปรุงล่าสุด: 26-09-2022